ยินดีต้อนรับ

ยินดีต้อนรับผู้ที่สนใจคณิตศาสตร์ทุกท่าน
Powered By Blogger

วันจันทร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ทศนิยมและเศษส่วน



การเขียนเศษส่วนแท้ให้เป็นทศนิยม
เขียนเศษส่วนแท้ที่มีตัวส่วนเป็น 10 ให้เป็นทศนิยมได้โดยเขียนตัวเศษเป็นทศนิยมตำแหน่งที่หนึ่ง
เขียนเศษส่วน เขียนเศษส่วนแท้ที่มีตัวส่วนเป็น 100 มีตัวเศษสองตัวให้เป็นทศนิยมได้โดยเขียนตัวเศษ เป็นทศนิยมตำแหน่งที่หนึ่งและที่สองตามลำดับ
เขียนเศษส่วนแท้ที่มีตัวส่วนเป็น 100 มีตัวเศษหนึ่งตัวให้เป็นทศนิยมได้ โดยเขียนตัวเศษเป็นทศนิยมตำแหน่งที่สอง และ 0 เป็นทศนิยมตำแหน่งที่หนึ่ง
อ่านต่อไปนะจ๊ะ

ความสัมพันธ์ของทศนิยมและเศษส่วน

เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 ในรูปทศนิยมให้คิดดังนี้
ทบทวนการเขียนทศนิยมและเศษส่วนแสดงจำนวนที่ระบายสีและแรเงา
เขียนทศนิยมหนึ่งจำแหน่งในรูปเศษส่วน
เขียนทศนิยมสองตำแหน่งในรูปเศษส่วน
เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 ในรูปทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 ในรูปทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนหาร 10 ลงตัวในรูปทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนหาร 100 ลงตัวในรูปทศนิยมสองตำแหน่ง
อ่าน

วันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552

บทเรียนคณิตศาสตร์ระดับมัธยม

เรื่องระบบจำนวนเรื่องสมการและอสมการ วงกลม จำนวนและตัวเลขสมบัติของสามเหลี่ยมุมฉากเรื่องอัตราส่วนและร้อยละเรื่องเศษส่วนเรื่องทศนิยมเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติศูนย์รวมบทเรียนอื่น ๆ

รวมข้อสอบ o-net ป.6 ปี 2550

ข้อสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่6 (ป.6) ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบวิชาภาษาไทย
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์

นักคณิตศาสตร์โลกที่น่าสนใจ

เธลิส
พีธากอรัส
ยูคลิด
อาร์คีมีดีส
ปิแอร์ เดอ แฟร์มาต์
แบลส์ ปาสคาล
เซอร์ ไอแซค นิวตัน
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
ErdOs : ชายผู้พิสวาทตัวเลข only

คณิตศาตร์กับการแก้ปัญหา

ปัญหาแบบมีโครงสร้าง
ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง
ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง
การสร้างโมเดลสำหรับปัญหา
คำตอบที่ดีที่สุดและคำตอบที่ใกล้เคียง
การแทนปัญหา
ปัญหาการเดินทางของคนขายยา
ความซับซ้อนของปัญหา
ทางเลือกการตัดสินใจและกิ่งการตัดสินใจ
รูปแบบการคำนวณสำหรับกิ่งการตัดสินใจ
ทฤษฎีเกมกับการแก้ปัญหา

ค่าพาย

ค่าพาย
ตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียประมาณ 950 ก่อนคริสตกาล นักคณิตศาสตร์สมัยนั้นให้ความสำคัญและสนใจค่าของ ซึ่งค่าของ นิยามจากอัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
ในยุคสมัยแรกใช้ค่า ประมาณเท่ากับ 3 ชาวอียิปต์ใช้ค่า มีค่าเท่ากับ และใช้ค่า
จากการค้นพบแผ่น Papyrus ที่บันทึกวิชาคณิตศาสตร์สมัยอียิปต์ เมื่อราว 1650 ก่อนคริสตกาล กำหนดค่า ไว้เท่ากับ 4(8/9)2 = 3.16
อาร์คีมีดีสให้ค่า มีค่าโดยประมาณ 223/71 < < 22/7
ค่าของ จึงเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการความเจริญของมนุษย์โดยค่าที่ใช้ในยุคต่าง ๆ มีดังนี้
ชื่อนักคณิตศาสตร์
ปี ค.ศ.
ค่าที่ได้
พโธเลมี (Ptolemy)
c.150 AD
3.1416
ซู ซุง (Tsu Chung)
430 - 501 AD
55/113
Al Khwarizmi
คศ.800
3.1416
Al Kashi
คศ.1430
คำนวณได้ 14 ตำแหน่ง
Vite
1540 - 1603
คำนวณได้ 9 ตำแหน่ง
Roomen
1516 - 1615
คำนวณได้ 17 ตำแหน่ง
Van Ceulen
1600
คำนวณได้ 35 ตำแหน่ง
การคำนวณค่าของ มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิชาเรขาคณิตและการคำนวณทางตรีโกณมิติอย่างมากเพราะเกี่ยวข้องกับเรื่องของมุม